กล่องข้อความ:
บริเวณที่พบ : หอประชุมวัฒโนทัยพายัพ
ชื่ออื่นๆ : เปา เปาดอกแดง (ภาคเหนือ), รัง (ภาคกลาง), เรียง เรียงพนม (เขมร-สุรินทร์), ลักป้าว (ละว้า-เชียงใหม่),
แลบอง เหล้ท้อ เหล่บอง (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ฮัง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ลักษณะทั่วไป : เป็นไม้ยืนต้น
ต้น : ไม้ยืนต้นผลัดใบสูง 15–20 เมตร เปลือกต้นสีเทาแตกเป็นร่องตามความยาวลำต้น
ใบ :
ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ กว้าง7-12 ซม.. ยาว.10-20 ซมปลายใบมน โคนใบหยักเว้า
ดอก :
ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อ กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนมีนาคม-เมษายน
ผล :
ผลรูปกระสวย มีปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก
ประโยชน์ :
เนื้อไม้ค่อนข้างแข็ง ใช้ก่อสร้างส่วนที่ต้องการความแข็งแรง และทำเครื่องมือการเกษตร
ลักษณะวิสัย

กลับหน้าหลัก
ใบ
ลำต้น

7-50100-001-205

ชื่อพื้นเมือง

:  ไม้เปา   รัง

ชื่อวิทยาศาสตร์

Shorea  siamensis  Miq.

ชื่อวงศ์

:  DIPTEROCARPACEAE

ชื่อสามัญ

:   Burmese  sal ,   Ingyin , Siamese sal

ประโยชน์

: ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน เรือ และเครื่องมือเกษตรกรรม    

 

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้    รัง    รหัสพรรณไม้   7-50100-001-205